ภารกิจ

ภารกิจของเราคือการสืบสวนปัจจัยกระตุ้นการแพร่ระบาดโรคที่อาจเกิดขึ้นตามลักษะพื้นที่ต่างๆ ไล่ไปตั้งแต่ ธรรมชาติ-ชนบท-เมือง ผ่านการรวบรวมข้อมูลทางสังคมและชีวภาพที่ครอบคลุม และการสร้างแบบจำลองคาดการณ์อัตราการแพร่ระบาดของโรคจากสัตว์สู่คนและการอุบัติโรคในพื้นที่ความเสี่ยงสูง เพื่อพัฒนาความรู้และแนวทางปฏิบัติของชุมชนที่มีความเสี่ยง ให้สามารถป้องกันหรืออย่างน้อยก็ลดโอกาสที่โรคระบาดในท้องถิ่นจะกลายเป็นการระบาดใหญ่ในระดับโลก

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อพัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับตัวขับเคลื่อนเชื้อโรคของโรคติดต่ออุบัติใหม่ และการแพร่เชื้อจากสัตว์สู่คน รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ของสิ่งเหล่านี้ที่แฝงตัวอยู่ในอาณาเขตของสิ่งแวดล้อม สัตว์ และมนุษย์
  2. เพื่อให้ผู้บริการด้านสุขภาพมีหลักฐานและเครื่องมือที่ดีขึ้นสำหรับดำเนินมาตรการรับมือด้านสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม

จุดมุ่งหมายและการก้าวข้ามความล้ำสมัย

PANDASIA มีความมุ่งมั่นที่จะทำในสิ่งต่อไปนี้

  1. แนวทางการดำเนินการแบบสหวิทยาการข้ามสาขาและการบูรณาการของสังคมศาสตร์
  2. การพัฒนาและประเมินผลการดำเนินงานโครงการร่วมกับสมาชิกชุมชนเพื่อให้แน่ใจว่ามีความสอดคล้องทางวัฒนธรรมและบริบท และผลักดันให้การพัฒนาความรอบรู้ทางสุขภาพและโรคระบาดมุ่งสู่การเตรียมพร้อมและรับมือกับโรคระบาดในรูปแบบที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง
  3. การสุ่มตัวอย่างจีโนมทางเลือกเพื่อประเมินความหลากหลายทางชีวภาพและการมีอยู่ของไวรัส
  4. เทคนิคการหาลำดับเบสในปริมาณมากและจับไวรัส  (แบบช็อตกันและไฮบริไดเซชัน)
  5. การพัฒนาต้นแบบการทดสอบภูมิคุ้มกันที่ใช้งานได้ง่าย
  6. การสร้างสรรค์มาตรการเพื่อเสริมความรอบรู้ด้านโรคระบาด การเตรียมพร้อม และการป้องกัน  (3PL) ร่วมกัน

กิจกรรมหลักของเรา

เรามีกิจกรรมหลักตามชุดงานดังต่อไปนี้

พันธมิตร

ที่ อักษรย่อ ชื่อเต็ม ประเทศ บทบาทหลัก
1 NMBU มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตแห่งนอร์เวย์ นอร์เวย์ ผู้ประสานงาน
2 NVI สถาบันสัตวแพทย์แห่งนอร์เวย์ นอร์เวย์ ชุดงาน 4
3 UKHD โรงพยาบาลและคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยไฮเดลเบิร์ก เยอรมนี ผู้นำชุดงาน 5
4 IZW สถาบันไลบ์นิซเพื่อการวิจัยสวนสัตว์และสัตว์ป่าในเบอร์ลิน เยอรมนี ชุดงาน 2-3
5 QMUL มหาวิทยาลัยควีนแมรีแห่งลอนดอน สหราชอาณาจักร ชุดงาน 1
6 CU จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไทย ผู้นำชุดงาน 1
7 UMU มหาวิทยาลัยอูมีโอ สวีเดน ผู้นำชุดงาน 4
8 KKU มหาวิทยาลัยขอนแก่น ไทย ผู้นำชุดงาน 3
9 MU มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย ผู้นำชุดงาน 2
10 SUPA71 บริษัท สุภา เซเว่นตี้วัน จำกัด ไทย ผู้นำชุดงาน 6
No. Abbreviations Full name  Country  Main roles 
1 NMBU Norwegian University of Life Sciences  Norway  Coordinator 
2 NVI Norwegian Veterinary Institute  Norway  WP4 
3 UKHD Universitätsklinikum Heidelberg University  Germany  WP5 lead 
4 IZW Leibniz Institute for Zoo and Wildlife Research  Germany  WP2-WP3 
5 QMUL Queen Mary University of London  UK  WP1 
6 CU Chulalongkorn University  Thailand  WP1 lead 
7 UMU Umeå University  Sweden  WP4 lead 
8 KKU Khon Kaen University  Thailand  WP3 lead 
9 MU Mahidol University  Thailand  WP2 lead 
10 SUPA71 SUPA71 Co., Ltd.  Thailand  WP6 lead 

ภารกิจ

ภารกิจของเราคือการสืบสวนปัจจัยกระตุ้นการแพร่ระบาดโรคที่อาจเกิดขึ้นตามลักษะพื้นที่ต่างๆ ไล่ไปตั้งแต่ ธรรมชาติ-ชนบท-เมือง ผ่านการรวบรวมข้อมูลทางสังคมและชีวภาพที่ครอบคลุม และการสร้างแบบจำลองคาดการณ์อัตราการแพร่ระบาดของโรคจากสัตว์สู่คนและการอุบัติโรคในพื้นที่ความเสี่ยงสูง เพื่อพัฒนาความรู้และแนวทางปฏิบัติของชุมชนที่มีความเสี่ยง ให้สามารถป้องกันหรืออย่างน้อยก็ลดโอกาสที่โรคระบาดในท้องถิ่นจะกลายเป็นการระบาดใหญ่ในระดับโลก

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อพัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับตัวขับเคลื่อนเชื้อโรคของโรคติดต่ออุบัติใหม่ และการแพร่เชื้อจากสัตว์สู่คน รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ของสิ่งเหล่านี้ที่แฝงตัวอยู่ในอาณาเขตของสิ่งแวดล้อม สัตว์ และมนุษย์
  2. เพื่อให้ผู้บริการด้านสุขภาพมีหลักฐานและเครื่องมือที่ดีขึ้นสำหรับดำเนินมาตรการรับมือด้านสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม

จุดมุ่งหมายและการก้าวข้ามความล้ำสมัย

PANDASIA มีความมุ่งมั่นที่จะทำในสิ่งต่อไปนี้

  1. แนวทางการดำเนินการแบบสหวิทยาการข้ามสาขาและการบูรณาการของสังคมศาสตร์
  2. การพัฒนาและประเมินผลการดำเนินงานโครงการร่วมกับสมาชิกชุมชนเพื่อให้แน่ใจว่ามีความสอดคล้องทางวัฒนธรรมและบริบท และผลักดันให้การพัฒนาความรอบรู้ทางสุขภาพและโรคระบาดมุ่งสู่การเตรียมพร้อมและรับมือกับโรคระบาดในรูปแบบที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง
  3. การสุ่มตัวอย่างจีโนมทางเลือกเพื่อประเมินความหลากหลายทางชีวภาพและการมีอยู่ของไวรัส
  4. เทคนิคการหาลำดับเบสในปริมาณมากและจับไวรัส (แบบช็อตกันและไฮบริไดเซชัน)
  5. การพัฒนาต้นแบบการทดสอบภูมิคุ้มกันที่ใช้งานได้ง่าย

การสร้างสรรค์มาตรการเพื่อเสริมความรอบรู้ด้านโรคระบาด การเตรียมพร้อม และการป้องกัน (3PL) ร่วมกัน

กิจกรรมหลักของเรา

เรามีกิจกรรมหลักตามชุดงานดังต่อไปนี้