PANDASIA

ย่อมาจาก “Pandemic Literacy and Viral Zoonotic Spillover Risk at the Frontline of Disease Emergence in Southeast Asia to Improve Pandemic Preparedness” หรือแปลเป็นไทยว่า “ความรอบรู้ด้านโรคระบาดและความเสี่ยงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสที่ล้นข้ามจากสัตว์สู่คน ณ แนวหน้าของการอุบัติโรคในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อปรับปรุงการเตรียมพร้อมรับมือกับการระบาดใหญ่” โดยได้รับทุนสนับสนุนจากสหภาพยุโรป (EU) และ UK Research and Innovation (UKRI) ทั้งนี้ วัตถุประสงค์หลักของ PANDASIA คือการรวบรวมข้อมูลทางสังคมและชีวภาพ รวมทั้งจำลองอัตราการแพร่ระบาดของโรคที่ล้นข้ามจากสัตว์สู่คนและการอุบัติของโรคในพื้นที่ความเสี่ยงสูงในประเทศไทย เพื่อระบุปัจจัยที่อาจขับเคลื่อนการแพร่ระบาดตามเขตพื้นที่ต่างๆ ตั้งแต่ธรรมชาติ-ชนบท-เมือง ซึ่งความเข้าใจที่ดีขึ้นเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยขับเคลื่อนต่างๆในระดับทั้งถิ่น จะนำไปสู่การพันฒนากลยุทธ์การเตรียมพร้อมรับมือกับโรคระบาดและมาตรการด้านสาธารณสุขที่อิงจากหลักฐานอย่างแท้จริง โดย PANDASIA จะใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าของนวัตกรรมการคาดการณ์ เพื่อกำหนด วิเคราะห์ และจำลองศักยภาพของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสจากมุมมองของแนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health: OH) และนิเวศสุขภาพ (EcoHealth: EH) ได้รับทุนสนับสนุนจากสหภาพยุโรป (EU) และ UK Research and Innovation (UKRI) วัตถุประสงค์หลักของ PANDASIA คือการรวบรวมข้อมูลทางสังคมและชีวภาพ และจำลองอัตราการแพร่ระบาดของโรคจากสัตว์สู่คนและการเกิดโรคในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูงในประเทศไทย กลยุทธ์ตามหลักฐานสำหรับการเตรียมพร้อมรับมือกับโรคระบาดและมาตรการด้านสาธารณสุขสามารถพัฒนาและปรับปรุงได้ด้วยความเข้าใจที่ดีขึ้นของปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวขับเคลื่อนของการรั่วไหลในระดับท้องถิ่น PANDASIA จะใช้ความก้าวหน้าในการคาดการณ์เพื่อกำหนด วิเคราะห์ และจำลองศักยภาพของการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสจากมุมมอง One Health (OH) และ EcoHealth (EH)

วิดีโอแนะนำโครงการ

รายละเอียดโดยสังเขปของโครงการ PANDASIA

รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ PANDASIA พร้อมคำบรรยายภาษาไทย

รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ PANDASIA พร้อมคำบรรยายภาษาอังกฤษ

วีดีโอที่เกี่ยวข้อง

PANDASIA Investigates Zoonoses with Wildlife and Non-Wildlife Origins in Thailand

Dr. Hans Overgaard, PANDASIA’s Principal Investigator, was interviewed at Norway Life Science 2024

Stakeholder mapping data collection in fields of Thailand

Stakeholder Mapping Workshop with Civil Society Organizations, October 19, 2023

กิจกรรม

การปรับปรุงด้าน

การเตรียมพร้อมรับมือโรคระบาด

เนื่องจากการระบาดใหญ่เริ่มต้นจากการแพร่ระบาดของโรคในระดับท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น และหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมและเกษตรในประเทศไทย จึงเป็นเรื่องสำคัญต่อการปรับปรุงความรอบรู้ด้านสุขภาพและโรคระบาด ดังนั้น PANDASIA จะฝังตัวอยู่ในชุมชนท้องถิ่นของไทยอย่างใกล้ชิด

ข่าวระบาด

ข่าวการระบาด

พบ “โรคนิวคาสเซิล” ในมาเลเซีย! อัตราตายของนก 100% องค์การอนามัยโลกเตือนความเสี่ยงในการแพร่เชื้อจากคนสู่คน

พบ “โรคนิวคาสเซิล” ในมาเลเซีย! อัตราตายของนก 100

[อ่านต่อ]

ประกาศทางกฎหมาย

© Pandasia Project, 2023-2027

รูปภาพและกราฟิกบนเว็บไซต์ล้วนมาจากพันธมิตรภายใต้โครงการ PANDASIA All สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามใช้ ทำซ้ำ หรือเปิดเผยส่วนหนึ่งส่วนใดของเว็บไซต์นี้ไม่ว่าในรูปแบบใดหรือด้วยวิธีการใดก็ตาม หากไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากพันธมิตรโครงการ PANDASIA

ผู้ประสานงาน

Hans overgaard

Principal investiagator, wp7 lead

Hans overgaard

ดร. Hans Overgaard

ผู้วิจัยหลัก, ผู้นำชุดงาน 7

ดร. Hans Overgaard

ผู้วิจัยหลัก, ผู้นำชุดงาน 7

ข้อมูลทุนสนับสนุน
โครงการนี้ได้รับเงินทุนจากโครงการวิจัยและนวัตกรรม Horizon 2023 ของสหภาพยุโรปภายใต้ข้อตกลงการให้สิทธิ์หมายเลข 101095444

กรอบเวลา

2023
Begins of the PANDASIA project
March to May 2023

Scoping visits and meetings with relevant stakeholders

2023
May – June 2023

Summit local ethical approvals to conduct relevant activities with human, domestic and wild animals

2023
July – September 2023

Conduct policy analysis and stakeholder mapping

2023
November 2023

Conduct a systematic review on synthesizing existing knowledge about human environment interactions, ecosystem functioning, human livelihoods, risk behaviors, and perceptions of relevance for spillover events, disease emergence, and pandemics in the GMS, One Health activities in Thailand, and the CITES database.

2023
November 2023

Implement a workshop to discuss results from the policy analysis and stakeholder mapping with relevant stakeholders.

2023
November 2023 – March 2024

Implement a baseline qualitative data collection and quantitative survey, including blood sampling for virological analysis.

2023
April – September 2024

community engagement activities in order to provide preliminary results to communities and relevant stakeholders.

2023
April – September 2024

Mathematical modelling in order to develop ecological, epidemiological and evolutionary conceptual models to enhance understanding of the significance of the general principles and pathways of spillover processes, and to guide the development and analyses of a structurally equivalent, yet more specific, data-driven model.

2023
April 2024 - March 2025

Prepare and implement 3PL intervention in order to create and test a critical public health measure – a pandemic prevention and preparedness literacy (3PL) intervention to reduce zoonotic transmission and pandemic risks.

2023
May - September 2026

Implement endline quantitative survey.

2023
May – December 2027

Dissemination of the final project implementation results and publications.