ดร. Hans Overgaard

ผู้วิจัยหลัก, ผู้นำชุดงาน 7

ดร. Hans Overgaard

"เป้าหมายส่วนตัวทางวิทยาศาสตร์ของผมในโครงการนี้ คือเพื่อทำความเข้าใจที่ดีขึ้นเกี่ยวกับกระบวนการแพร่เชื้อล้นข้ามจากสัตว์สู่คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรามุ่งที่จะพัฒนากลยุทธ์การเตรียมความพร้อมและการป้องกันการระบาดใหญ่สำหรับอนาคต ซึ่งอาจสามารถนำไปใช้ในพื้นที่อื่นๆที่มีความคล้ายคลึงกันได้ ในฐานะผู้จัดการโครงการ PANDASIA มันสำคัญมากที่ผมไม่เพียงแต่จะทำให้โครงการที่ยิ่งใหญ่นี้สำเร็จเท่านั้น แต่ยังต้องเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดที่เกี่ยวข้องอีกด้วย"

ดร. Hans Overgaard

ผู้วิจัยหลัก, ผู้นำชุดงาน 7

ดร. Hans Overgaard

“เป้าหมายส่วนตัวทางวิทยาศาสตร์ของผมในโครงการนี้ คือเพื่อทำความเข้าใจที่ดีขึ้นเกี่ยวกับกระบวนการแพร่เชื้อล้นข้ามจากสัตว์สู่คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรามุ่งที่จะพัฒนากลยุทธ์การเตรียมความพร้อมและการป้องกันการระบาดใหญ่สำหรับอนาคต ซึ่งอาจสามารถนำไปใช้ในพื้นที่อื่นๆที่มีความคล้ายคลึงกันได้ ในฐานะผู้จัดการโครงการ PANDASIA มันสำคัญมากที่ผมไม่เพียงแต่จะทำให้โครงการที่ยิ่งใหญ่นี้สำเร็จเท่านั้น แต่ยังต้องเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดที่เกี่ยวข้องอีกด้วย”

Mohamed Elsayed Abdelgawad Shelil

ผู้ประสานงานโครงการ

Mohamed Elsayed Abdelgawad Shelil

ดร. Rebecca Brown

นักวิจัย

ดร. Rebecca Brown

"ฉันตื่นเต้นที่จะเป็นส่วนหนึ่งของทีมสหสาขาวิชาของโครงการ PANDASIA และหวังว่าจะได้เรียนรู้จากทักษะที่หลากหลายในการทำความเข้าใจและเตรียมพร้อมสำหรับการรับมือเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คนที่มีศักยภาพในการแพร่ระบาดในอนาคต ในโครงการ PANDASIA ฉันมุ่งเน้นหลักไปที่การเก็บตัวอย่างสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเพื่อวิเคราะห์ iDNA และเฝ้าระวังเชื้อไวรัสใหม่ๆ ในสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง ฉันจะนำประสบการณ์ในการศึกษาสัตว์พาหะมาใช้เพื่อตรวจสอบยุงพาหะในการเป็นตัวกลางของเชื้อไวรัสโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนในประเทศไทย และลักษณะนี้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยและความพร้อมของโฮสต์สัตว์มีกระดูกสันหลัง"

Mohamed Elsayed Abdelgawad Shelil

ผู้ประสานงานโครงการ

Mohamed Elsayed Abdelgawad Shelil

ดร. Rebecca Brown

นักวิจัย

ดร. Rebecca Brown

"ฉันตื่นเต้นที่จะเป็นส่วนหนึ่งของทีมสหสาขาวิชาของโครงการ PANDASIA และหวังว่าจะได้เรียนรู้จากทักษะที่หลากหลายในการทำความเข้าใจและเตรียมพร้อมสำหรับการรับมือเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คนที่มีศักยภาพในการแพร่ระบาดในอนาคต ในโครงการ PANDASIA ฉันมุ่งเน้นหลักไปที่การเก็บตัวอย่างสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเพื่อวิเคราะห์ iDNA และเฝ้าระวังเชื้อไวรัสใหม่ๆ ในสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง ฉันจะนำประสบการณ์ในการศึกษาสัตว์พาหะมาใช้เพื่อตรวจสอบยุงพาหะในการเป็นตัวกลางของเชื้อไวรัสโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนในประเทศไทย และลักษณะนี้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยและความพร้อมของโฮสต์สัตว์มีกระดูกสันหลัง"

Kyrre Kausrud

นักวิจัยอาวุโส

Kyrre Kausrud

Kyrre Kausrud

นักวิจัยอาวุโส

Kyrre Kausrud

ศ. ดร. Joacim Rockloev

ผู้เชี่ยวชาญด้านการทำแบบจำลองคณิตศาสตร์, ผู้นำชุดงาน 5

ศ. ดร. Joacim Rockloev

"เป้าหมายของผมสำหรับโครงการ PANDASIA คือการระบุความสัมพันธ์ในสิ่งแวดล้อม ภูมิอากาศ และความเสี่ยงของการแพร่เชื้อล้นข้าม"

ดร. Marina Treskova

นักวิจัยหลังปริญญาเอก

ดร. Marina Treskova

ศ. ดร. Till Bärnighausen

ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์การแทรกแซงและสุขภาพระดับโลก

ศ. ดร. Till Bärnighausen

ดร. Kate Bärnighausen

นักสังคมศาสตร์

ดร. Kate Bärnighausen

ดร. Jerome Baron

นักระบาดวิทยา

ดร. Jerome Baron

ดร. Veronika Halász

ผู้เชี่ยวชาญด้านเครือข่าย

ดร. Veronika Halász

"ฉันและทีมต้องการที่จะสร้างและพัฒนามาตรการป้องกันทางสังคมเพื่อไม่ให้เกิดการระบาดใหญ่ เป้าหมายส่วนตัวของฉันในฐานะนักคณิตศาสตร์ คือการสร้างแบบจำลองเครือข่ายสำหรับการส่งข้อมูลและการแพร่ระบาดของเชื้อ และความเสี่ยงของการแพร่ระจายของเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คน"

ดร. Jerome Baron

นักระบาดวิทยา

ดร. Jerome Baron

ดร. Veronika Halász

ผู้เชี่ยวชาญด้านเครือข่าย

ดร. Veronika Halász

“ฉันและทีมต้องการที่จะสร้างและพัฒนามาตรการป้องกันทางสังคมเพื่อไม่ให้เกิดการระบาดใหญ่ เป้าหมายส่วนตัวของฉันในฐานะนักคณิตศาสตร์ คือการสร้างแบบจำลองเครือข่ายสำหรับการส่งข้อมูลและการแพร่ระบาดของเชื้อ และความเสี่ยงของการแพร่ระจายของเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คน”

สาขาวิชาโรคสัตว์ป่า

ศ. นส.พ. ดร. Alex Greenwood

ผู้เชี่ยวชาญด้านสัตวแพทย์สัตว์ป่าสาธารณสุข

ศ. นส.พ. ดร. Alex Greenwood

"เป้าหมายของผม คือการที่เราจะเริ่มหลีกเลี่ยงโรคระบาดด้วยการกระทำเชิงรุก มิใช่การตอบสนองเชิงรับ ซึ่งการระบาดใหญ่ครั้งล่าสุดก็ได้แสดงให้เห็นแล้วว่าเราไม่พร้อมสำหรับเหตุการณ์คุกคามระดับโลกเช่นนี้ เป้าหมายของทีมผมคือการตรวจจับไวรัสที่กำลังจะเกิดใหม่ในสัตว์ป่า รวมทั้งเสริมสร้างและพัฒนาเครือข่ายสหวิทยาการร่วมกับพันธมิตรในโครงการที่ล้วนมีเป้าหมายสูงส่งเหล่านี้"

สาขาวิชาโรคสัตว์ป่า

ศ. นส.พ. ดร. Alex Greenwood

ผู้เชี่ยวชาญด้านสัตวแพทย์สัตว์ป่าสาธารณสุข

ศ. นส.พ. ดร. Alex Greenwood

“เป้าหมายของผม คือการที่เราจะเริ่มหลีกเลี่ยงโรคระบาดด้วยการกระทำเชิงรุก มิใช่การตอบสนองเชิงรับ ซึ่งการระบาดใหญ่ครั้งล่าสุดก็ได้แสดงให้เห็นแล้วว่าเราไม่พร้อมสำหรับเหตุการณ์คุกคามระดับโลกเช่นนี้ เป้าหมายของทีมผมคือการตรวจจับไวรัสที่กำลังจะเกิดใหม่ในสัตว์ป่า รวมทั้งเสริมสร้างและพัฒนาเครือข่ายสหวิทยาการร่วมกับพันธมิตรในโครงการที่ล้วนมีเป้าหมายสูงส่งเหล่านี้”

การจัดการทางวิทยาศาสตร์

Cora Knoblauch

ผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสาร

Cora Knoblauch

“การวิจัยที่ยอดเยี่ยมจำเป็นต้องมีการสื่อสารที่ยอดเยี่ยมทั้งภายในและภายนอก ซึ่งในโครงการวิจัยสหวิทยาการอย่าง PANDASIA นั้น การสื่อสารระหว่างสาขาวิชาการ รวมทั้งระหว่างประเทศและวัฒนธรรม จำเป็นต้องมีความละเอียดอ่อนและมีช่องทางการสื่อสารหลายช่องทาง จากประสบการณ์และความรู้ทั้งหมดของฉัน ฉันต้องการที่จะช่วยให้ PANDASIA ไม่เพียงแต่สื่อสารกับสาธารณชนได้สำเร็จเท่านั้น แต่ยังต้องทำให้แน่ใจว่าทุกคนที่เกี่ยวข้องกับโครงการได้มีการแลกเปลี่ยนกันอย่างมีผลสัมฤทธิ์และมีชีวิตชีวาอีกด้วย”

Cora Knoblauch

ผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสาร

Cora Knoblauch

"การวิจัยที่ยอดเยี่ยมจำเป็นต้องมีการสื่อสารที่ยอดเยี่ยมทั้งภายในและภายนอก ซึ่งในโครงการวิจัยสหวิทยาการอย่าง PANDASIA นั้น การสื่อสารระหว่างสาขาวิชาการ รวมทั้งระหว่างประเทศและวัฒนธรรม จำเป็นต้องมีความละเอียดอ่อนและมีช่องทางการสื่อสารหลายช่องทาง จากประสบการณ์และความรู้ทั้งหมดของฉัน ฉันต้องการที่จะช่วยให้ PANDASIA ไม่เพียงแต่สื่อสารกับสาธารณชนได้สำเร็จเท่านั้น แต่ยังต้องทำให้แน่ใจว่าทุกคนที่เกี่ยวข้องกับโครงการได้มีการแลกเปลี่ยนกันอย่างมีผลสัมฤทธิ์และมีชีวิตชีวาอีกด้วย"

ดร. Doreen Montag

ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์นโยบายและสุขภาพระดับโลก

ดร. Doreen Montag

"จุดสนใจของฉันในโครงการนี้คือการทำความเข้าใจถึงบทบาทของนโยบายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่หลากหลายในสถานการณ์ความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของไวรัสจากสัตว์สู่คน สำหรับตัวฉันแล้ว สิ่งที่สำคัญคือจะต้องทบทวนความสัมพันธ์ของเรา/มนุษย์ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตสปีชีส์อื่นๆและระบบนิวเศต่างๆ เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อล้นข้ามในอนาคต ฉันต้องการที่จะเสริมสร้างความเข้มแข็งและความร่วมมือระหว่างประเทศ รวมทั้งเรียนรู้เกี่ยวกับบริบททางสังคมวัฒนธรรม สังคมการเมือง และประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อมของไทย"

วิทยา ศศิธารัน

นักวิจัยด้านสุขภาพโลกและสาธารณสุข

วิทยา ศศิธารัน

"เป้าหมายของฉันสำหรับ PANDASIA คือการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานและทำให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าใจบทบาทของตนเองในเรื่องความเสี่ยงจากการแพร่กระจายเชื้อของโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนผ่านมุมมองของสุขภาพหนึ่งเดียว รวมถึงการร่วมงานและเรียนรู้จากทีมงานระหว่างประเทศที่มีความเชี่ยวชาญจากหลายสาขาวิชาต่างๆ"

ดร. Doreen Montag

ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์นโยบายและสุขภาพระดับโลก

ดร. Doreen Montag

“จุดสนใจของฉันในโครงการนี้คือการทำความเข้าใจถึงบทบาทของนโยบายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่หลากหลายในสถานการณ์ความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของไวรัสจากสัตว์สู่คน สำหรับตัวฉันแล้ว สิ่งที่สำคัญคือจะต้องทบทวนความสัมพันธ์ของเรา/มนุษย์ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตสปีชีส์อื่นๆและระบบนิวเศต่างๆ เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อล้นข้ามในอนาคต ฉันต้องการที่จะเสริมสร้างความเข้มแข็งและความร่วมมือระหว่างประเทศ รวมทั้งเรียนรู้เกี่ยวกับบริบททางสังคมวัฒนธรรม สังคมการเมือง และประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อมของไทย”

วิทยา ศศิธารัน

นักวิจัยด้านสุขภาพโลกและสาธารณสุข

วิทยา ศศิธารัน

"เป้าหมายของฉันสำหรับ PANDASIA คือการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานและทำให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าใจบทบาทของตนเองในเรื่องความเสี่ยงจากการแพร่กระจายเชื้อของโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนผ่านมุมมองของสุขภาพหนึ่งเดียว รวมถึงการร่วมงานและเรียนรู้จากทีมงานระหว่างประเทศที่มีความเชี่ยวชาญจากหลายสาขาวิชาต่างๆ"

ศ. นส.พ. ดร. อลงกร อมรศิลป์

ผู้เชี่ยวชาญด้านสัตวแพทย์สาธารณสุข, ผู้นำชุดงาน ที่ 1

ศ. นส.พ. ดร. อลงกร อมรศิลป์

"โฟกัสของผมในโครงการนี้คือการวิจัยข้ามสาขาวิชาในการปฏิบัติ การสร้างเครือข่ายการวิจัยและการเป็นพี่เลี้ยงให้แก่นักวิจัยรุ่นเยาว์เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งสำหรับผม"

ศ. นส.พ. ดร. อลงกร อมรศิลป์

ผู้เชี่ยวชาญด้านสัตวแพทย์สาธารณสุข, ผู้นำชุดงาน ที่ 1

ศ. นส.พ. ดร. อลงกร อมรศิลป์

"โฟกัสของผมในโครงการนี้คือการวิจัยข้ามสาขาวิชาในการปฏิบัติ การสร้างเครือข่ายการวิจัยและการเป็นพี่เลี้ยงให้แก่นักวิจัยรุ่นเยาว์เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งสำหรับผม"

ดร. กนกวรรณ สุวรรณรงค์

นักระบาดวิทยา นักสังคมศาสตร์ และนักวิจัยอาวุโส

ดร. กนกวรรณ สุวรรณรงค์

"การวิจัยเป็นทั้งเครื่องมือและโอกาสในการรวบรวมข้อมูลสำคัญที่จะช่วยปรับปรุงมาตรการป้องกันโรคระบาดให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ SUPA71 มีประสบการณ์มากมายหลายปีในการเก็บข้อมูลจากชุมชนที่มีความเสี่ยง การจัดทำและเผยแพร่เอกสารรายงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเล่าถึงแนวความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้คน รายงานซึ่งประกอบไปด้วยข้อเสนอเชิงกลยุทธ์เหล่านี้ เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับหน่วยงานรัฐบาลท้องถิ่นในการกำหนดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและสัตว์ ในฐานะผู้บริหารของ SUPA71 ฉันขอนำเสนอทีมงานมากความสามารถของเราให้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการวิจัยทางสังคมและกิจกรรมการสื่อสารของ PANDASIA และฉันหวังว่าเราจะมีส่วนสำคัญในการช่วยให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ"

ดร. กนกวรรณ สุวรรณรงค์

นักระบาดวิทยา นักสังคมศาสตร์ และนักวิจัยอาวุโส

ดร. กนกวรรณ สุวรรณรงค์

“การวิจัยเป็นทั้งเครื่องมือและโอกาสในการรวบรวมข้อมูลสำคัญที่จะช่วยปรับปรุงมาตรการป้องกันโรคระบาดให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ SUPA71 มีประสบการณ์มากมายหลายปีในการเก็บข้อมูลจากชุมชนที่มีความเสี่ยง การจัดทำและเผยแพร่เอกสารรายงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเล่าถึงแนวความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้คน รายงานซึ่งประกอบไปด้วยข้อเสนอเชิงกลยุทธ์เหล่านี้ เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับหน่วยงานรัฐบาลท้องถิ่นในการกำหนดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและสัตว์ ในฐานะผู้บริหารของ SUPA71 ฉันขอนำเสนอทีมงานมากความสามารถของเราให้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการวิจัยทางสังคมและกิจกรรมการสื่อสารของ PANDASIA และฉันหวังว่าเราจะมีส่วนสำคัญในการช่วยให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ”

นส.พ. ดร. สุพัศมา ไชยวงษ์

สัตวแพทย์สาธารณสุข, นักวิจัยหลังปริญญาเอก

นส.พ. ดร. สุพัศมา ไชยวงษ์

"ฉันสนใจเกี่ยวกับศักยภาพของโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนที่ทำให้เกิดโรคระบาดใหม่ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาวิจัยของโครงการ PANDASIA ฉันยินดีอย่างยิ่งที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการนี้ และฉันจะทำงานอย่างหนักเพื่อความสำเร็จของโครงการนี้"

ดร. ชนกันต์ นาสำราญ

สัตวแพทย์, นักศึกษาปริญญาเอก

ดร. ชนกันต์ นาสำราญ

"ฉันสนใจศึกษาเกี่ยวกับโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนเป็นอย่างมาก และดีใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของทีม PANDASIA"

กรรณการ์ ธรรมสุทธิ

นักศึกษาปริญญาเอก

กรรณการ์ ธรรมสุทธิ

"โครงการ PANDASIA เป็นหนึ่งในโครงการที่สำคัญที่สุด เนื่องจากจะช่วยในการระบุถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นของการแพร่ระบาดใหญ่และการแพร่กระจายของเชื้อจากสัตว์สู่คนครั้งใหม่ ตลอดจนช่วยพัฒนามาตรการป้องกันต่างๆสำหรับสังคม มนุษย์ และสัตว์ ให้ดีขึ้นในอนาคต ดิฉันมีความยินดีเป็นอย่างมากที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของทีม PANDASIA และฉันก็ตั้งใจที่จะทำงานอย่างหนักและทำให้ดีที่สุดกับโครงการนี้"

ดร. Henrik Sjodin

ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์, ผู้นำชุดงาน 4

ดร. Henrik Sjodin

"เป้าหมายส่วนตัวของฉันในโครงการวิจัยความร่วมมือนี้มุ่งเน้นที่การลดความเสี่ยงของการแพร่ระจายของเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คนโดยมุ่งเน้นไปที่ประเด็นสำคัญสามประการ ประการแรก ฉันหวังว่าจะมีส่วนช่วยในการทำความเข้าใจกลไกของกระบวนการและเส้นทางการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสในระบบนิเวศ วิวัฒนาการ และทางระบาดวิทยา โดยการปรับปรุงความเข้าใจของเราเกี่ยวกับกระบวนการเหล่านี้ เราสามารถระบุกลไกที่สามารถกำหนดเป้าหมายเพื่อลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสและเพื่อพัฒนากลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันเหตุการณ์การรั่วไหลในอนาคต ประการที่สอง ฉันสนใจที่จะตรวจสอบศักยภาพของการแก้ปัญหาตามธรรมชาติและระบบนิเวศทางสังคมวิทยาเพื่อลดความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คน สุดท้าย ฉันตื่นเต้นที่ได้มีส่วนร่วมในโครงการที่มีสหสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกันเพื่อเน้นค้นคว้าเหนือระดับที่ทราบในการศึกษาเกี่ยวกับการแพร่เชื้อโรคจากสัตว์ไปสู่มนุษย์ สุดท้ายนี้ ฉันรู้สึกตื่นเต้นที่จะได้มีส่วนร่วมในสหวิทยาการเพื่อผลักดันการวิจัยการแพร่ระบาดของสัตว์สู่คนให้ก้าวข้ามความล้ำสมัยในปัจจุบัน โดยการทำงานร่วมกันในสาขาวิชาต่างๆ และนำเสนอมุมมองที่หลากหลาย"

Junwen Guo

ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์

Junwen Guo

ดร. Erin Stafford

นักวิจัยหลังปริญญาเอก

ดร. Erin Stafford

"ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของทีมสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของโครงการ PANDASIA ฉันหวังว่าจะช่วยนำเสนอให้เกิดความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับความเสี่ยงและลักษณะการแพร่กระจายของเชื้อโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน"

ดร. Henrik Sjodin

ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์, ผู้นำชุดงาน 4

ดร. Henrik Sjodin

"เป้าหมายส่วนตัวของฉันในโครงการวิจัยความร่วมมือนี้มุ่งเน้นที่การลดความเสี่ยงของการแพร่ระจายของเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คนโดยมุ่งเน้นไปที่ประเด็นสำคัญสามประการ ประการแรก ฉันหวังว่าจะมีส่วนช่วยในการทำความเข้าใจกลไกของกระบวนการและเส้นทางการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสในระบบนิเวศ วิวัฒนาการ และทางระบาดวิทยา โดยการปรับปรุงความเข้าใจของเราเกี่ยวกับกระบวนการเหล่านี้ เราสามารถระบุกลไกที่สามารถกำหนดเป้าหมายเพื่อลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสและเพื่อพัฒนากลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันเหตุการณ์การรั่วไหลในอนาคต ประการที่สอง ฉันสนใจที่จะตรวจสอบศักยภาพของการแก้ปัญหาตามธรรมชาติและระบบนิเวศทางสังคมวิทยาเพื่อลดความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คน สุดท้าย ฉันตื่นเต้นที่ได้มีส่วนร่วมในโครงการที่มีสหสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกันเพื่อเน้นค้นคว้าเหนือระดับที่ทราบในการศึกษาเกี่ยวกับการแพร่เชื้อโรคจากสัตว์ไปสู่มนุษย์ สุดท้ายนี้ ฉันรู้สึกตื่นเต้นที่จะได้มีส่วนร่วมในสหวิทยาการเพื่อผลักดันการวิจัยการแพร่ระบาดของสัตว์สู่คนให้ก้าวข้ามความล้ำสมัยในปัจจุบัน โดยการทำงานร่วมกันในสาขาวิชาต่างๆ และนำเสนอมุมมองที่หลากหลาย"

Junwen Guo

ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์

Junwen Guo

ดร. Erin Stafford

นักวิจัยหลังปริญญาเอก

ดร. Erin Stafford

"ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของทีมสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของโครงการ PANDASIA ฉันหวังว่าจะช่วยนำเสนอให้เกิดความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับความเสี่ยงและลักษณะการแพร่กระจายของเชื้อโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน"

ศ. ดร. แจ่มใส เพียรทอง

นักวิจัยอาวุโส, นักไวรัสวิทยา, ผู้นำชุดงาน 3

ศ. ดร. แจ่มใส เพียรทอง

"ดิฉันและทีมจะตรวจสอบการเก็บตัวอย่างที่ไม่รุกราน สำหรับการเฝ้าระวังไวรัสที่จะเกิดใหม่ โดยเราจะสำรวจไวรัสที่แพร่กระจายในเส้นทางการแพร่เชื้อที่อาจเกิดขึ้นในพื้นที่เสี่ยงการเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ รวมทั้งระบุและอธิบายลักษณะของไวรัสที่มีโอกาสจะแพร่เชื้อล้นข้าม เป็นสิ่งสำคัญสำหรับเราที่จะรวมและขยายความสัมพันธ์ระหว่างสหวิทยาการ เผยแพร่ข้อมูล และปรับปรุงการรับมือโรคติดเชื้อไวรัสอุบัติใหม่ในพื้นที่เสี่ยง ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย"

ศ. ดร. แจ่มใส เพียรทอง

นักวิจัยอาวุโส, นักไวรัสวิทยา, ผู้นำชุดงาน 3

ศ. ดร. แจ่มใส เพียรทอง

“ดิฉันและทีมจะตรวจสอบการเก็บตัวอย่างที่ไม่รุกราน สำหรับการเฝ้าระวังไวรัสที่จะเกิดใหม่ โดยเราจะสำรวจไวรัสที่แพร่กระจายในเส้นทางการแพร่เชื้อที่อาจเกิดขึ้นในพื้นที่เสี่ยงการเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ รวมทั้งระบุและอธิบายลักษณะของไวรัสที่มีโอกาสจะแพร่เชื้อล้นข้าม เป็นสิ่งสำคัญสำหรับเราที่จะรวมและขยายความสัมพันธ์ระหว่างสหวิทยาการ เผยแพร่ข้อมูล และปรับปรุงการรับมือโรคติดเชื้อไวรัสอุบัติใหม่ในพื้นที่เสี่ยง ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย”

ศ. ดร. ทิพยา เอกลักษณานันท์

นักวิจัยอาวุโส, นักไวรัสวิทยา

ศ. ดร. ทิพยา เอกลักษณานันท์

ผศ. ดร. สุปราณี พันธุ์ธนวิบูลย์

นักไวรัสวิทยา

ผศ. ดร. สุปราณี พันธุ์ธนวิบูลย์

ศ. ดร. ทิพยา เอกลักษณานันท์

นักวิจัยอาวุโส, นักไวรัสวิทยา

ศ. ดร. ทิพยา เอกลักษณานันท์

ผศ. ดร. สุปราณี พันธุ์ธนวิบูลย์

นักไวรัสวิทยา

ผศ. ดร. สุปราณี พันธุ์ธนวิบูลย์

ผศ. ดร. สิรินาถ อารมย์เสรี

นักไวรัสวิทยา

ผศ. ดร. สิรินาถ อารมย์เสรี

ดร.ฐาวรีย์ นักผูก

นักไวรัสวิทยา

ดร.ฐาวรีย์ นักผูก

"ฉันมีความเชี่ยวชาญในด้านไวรัสวิทยาและมะเร็งที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส HPV โดยมีความชำนาญในเทคนิคอณูชีววิทยาและเพาะเลี้ยงเซลล์ รวมไปถึงการสร้างเซลล์เพาะเลี้ยงและ in vitro model เพื่อศึกษากลไกการเกิดมะเร็งที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส จุดมุ่งหมายของฉันในโครงการ PANDASIA คือการสำรวจไวรัสทั้งหมดที่สามารถพบได้ในตัวอย่างและระบุไวรัสที่มีศักยภาพในการแพร่เชื้อจากสัตว์สู่คน รวมไปถึงสามารถเข้าใจกระบวนการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คนได้ดียิ่งขึ้น"

ดร.สิทธิโชค เกตุแก้ว

นักชีวสารสนเทศศาสตร์

ดร.สิทธิโชค เกตุแก้ว

"ผมมีความเชี่ยวชาญในด้านอณูชีววิทยาและเทคโนโลยีชีวภาพและชีวสารสนเทศศาสตร์ มีซึ่งมีความเชี่ยวชาญในเทคนิคอณูชีววิทยาและมีความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับวิธีการแก้ไขจีโนม การวิเคราะห์จีโนมทั้งหมด ชีวสารสนเทศศาสตร์และการวิเคราะห์เมตาจีโนมิก"

ดร.สุวลักษณ์ จิตรเจริญ

นักชีวสารสนเทศศาสตร์

ดร.สุวลักษณ์ จิตรเจริญ

"ฉันมีประสบการณ์ทางด้านการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้าน metagenome ของจุลชีพ โดยเฉพาะไวรัส โดยอาศัยเทคนิคทางด้าน multi-omic และ bioinformatics นอกจากนี้ยังมีความสนใจในการศึกษาหน้าที่ของ non-coding regions ในจีโนมของสิ่งมีชีวิต"

ผศ. ดร. สิรินาถ อารมย์เสรี

นักไวรัสวิทยา

ผศ. ดร. สิรินาถ อารมย์เสรี

ดร.ฐาวรีย์ นักผูก

นักไวรัสวิทยา

ดร.ฐาวรีย์ นักผูก

"ฉันมีความเชี่ยวชาญในด้านไวรัสวิทยาและมะเร็งที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส HPV โดยมีความชำนาญในเทคนิคอณูชีววิทยาและเพาะเลี้ยงเซลล์ รวมไปถึงการสร้างเซลล์เพาะเลี้ยงและ in vitro model เพื่อศึกษากลไกการเกิดมะเร็งที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส จุดมุ่งหมายของฉันในโครงการ PANDASIA คือการสำรวจไวรัสทั้งหมดที่สามารถพบได้ในตัวอย่างและระบุไวรัสที่มีศักยภาพในการแพร่เชื้อจากสัตว์สู่คน รวมไปถึงสามารถเข้าใจกระบวนการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คนได้ดียิ่งขึ้น"

ดร.สิทธิโชค เกตุแก้ว

นักชีวสารสนเทศศาสตร์

ดร.สิทธิโชค เกตุแก้ว

"ผมมีความเชี่ยวชาญในด้านอณูชีววิทยาและเทคโนโลยีชีวภาพและชีวสารสนเทศศาสตร์ มีซึ่งมีความเชี่ยวชาญในเทคนิคอณูชีววิทยาและมีความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับวิธีการแก้ไขจีโนม การวิเคราะห์จีโนมทั้งหมด ชีวสารสนเทศศาสตร์และการวิเคราะห์เมตาจีโนมิก"

ดร.สุวลักษณ์ จิตรเจริญ

นักชีวสารสนเทศศาสตร์

ดร.สุวลักษณ์ จิตรเจริญ

"ฉันมีประสบการณ์ทางด้านการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้าน metagenome ของจุลชีพ โดยเฉพาะไวรัส โดยอาศัยเทคนิคทางด้าน multi-omic และ bioinformatics นอกจากนี้ยังมีความสนใจในการศึกษาหน้าที่ของ non-coding regions ในจีโนมของสิ่งมีชีวิต"

นส.พ. ดร. บริพัตร ศิริอรุณรัตน์

ผู้เชี่ยวชาญด้านสัตว์ป่าและอนามัยสิ่งแวดล้อม, ผู้นำชุดงาน 2

นส.พ. ดร. บริพัตร ศิริอรุณรัตน์

"สิ่งที่ผมและทีมโฟกัสคือการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการวิจัยเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพให้แข็งแกร่งขึ้น เป้าหมายส่วนตัวของผมในฐานะนักวิทยาศาสตร์ในสังกัด คือการแสดงทักษะการวิจัยทางวิทยาศาสตร์อย่างมืออาชีพของทีมงาน ซึ่งจะมีส่วนสำคัญต่อความสำเร็จของโครงการโดยรวม ผมอยากที่จะนำวิธีการทางนิเวศวิทยาสัตว์ป่าและสุขภาพมาช่วยสนับสนุนแผนงานโครงการ และอยากที่จะได้รับความรู้ด้านเทคนิคและทักษะใหม่ๆจากพันธมิตรนักวิจัยอีกด้วย"

นส.พ. ดร. บริพัตร ศิริอรุณรัตน์

ผู้เชี่ยวชาญด้านสัตว์ป่าและอนามัยสิ่งแวดล้อม, ผู้นำชุดงาน 2

นส.พ. ดร. บริพัตร ศิริอรุณรัตน์

“สิ่งที่ผมและทีมโฟกัสคือการเสริมสร้างความร่วมมือด้านการวิจัยเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพให้แข็งแกร่งขึ้น เป้าหมายส่วนตัวของผมในฐานะนักวิทยาศาสตร์ในสังกัด คือการแสดงทักษะการวิจัยทางวิทยาศาสตร์อย่างมืออาชีพของทีมงาน ซึ่งจะมีส่วนสำคัญต่อความสำเร็จของโครงการโดยรวม ผมอยากที่จะนำวิธีการทางนิเวศวิทยาสัตว์ป่าและสุขภาพมาช่วยสนับสนุนแผนงานโครงการ และอยากที่จะได้รับความรู้ด้านเทคนิคและทักษะใหม่ๆจากพันธมิตรนักวิจัยอีกด้วย”

ผศ.ดร. ประทีป ด้วงแค

นักนิเวศวิทยาสัตว์ป่า, นักวิจัยอาวุโส

ผศ.ดร. ประทีป ด้วงแค

"เป้าหมายของเราคือการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในระบบนิเวศเชิงพื้นที่ โดยมีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างการเตรียมพร้อมสำหรับการป้องกันการะบาดใหญ่ของโรคในอนาคต"

ผศ.ดร. กิตติพงษ์ ฉายศิริ

นักปรสิตวิทยา

ผศ.ดร. กิตติพงษ์ ฉายศิริ

"ความเชี่ยวชาญด้านการวิจัยหลักของผมคือชีววิทยาของสัตว์ฟันแทะและโรคที่เกิดจากสัตว์ฟันแทะ (ปรสิตมหภาคและจุลภาค) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการที่ผมได้มีส่วนร่วมในโครงการวิจัยนี้ในฐานะนักวิจัยภาคสนามที่ศึกษาสัตว์ฟันแทะและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนจากมุมมองของโฮสต์และความหลากหลายของปรสิตที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม"

ผศ.ดร. ประทีป ด้วงแค

นักนิเวศวิทยาสัตว์ป่า, นักวิจัยอาวุโส

ผศ.ดร. ประทีป ด้วงแค

"เป้าหมายของเราคือการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในระบบนิเวศเชิงพื้นที่ โดยมีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างการเตรียมพร้อมสำหรับการป้องกันการะบาดใหญ่ของโรคในอนาคต"

ผศ.ดร. กิตติพงษ์ ฉายศิริ

นักปรสิตวิทยา

ผศ.ดร. กิตติพงษ์ ฉายศิริ

"ความเชี่ยวชาญด้านการวิจัยหลักของผมคือชีววิทยาของสัตว์ฟันแทะและโรคที่เกิดจากสัตว์ฟันแทะ (ปรสิตมหภาคและจุลภาค) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการที่ผมได้มีส่วนร่วมในโครงการวิจัยนี้ในฐานะนักวิจัยภาคสนามที่ศึกษาสัตว์ฟันแทะและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนจากมุมมองของโฮสต์และความหลากหลายของปรสิตที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม"

ผศ.ดร. อิงอร ไชยเยส

นักระบาดวิทยาด้านสัตว์ป่า

ผศ.ดร. อิงอร ไชยเยส

"งานวิจัยของฉันมุ่งเน้นในด้านความหลากหลายของสัตว์ป่า ภูมิศาสตร์ชีวภาพ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและสัตว์ป่า การผสมผสานของการออกแบบโมเดลทางนิเวศวิทยา การเฝ้าระวังทางไกล ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ และการลงพื้นที่ภาคสนาม"

ผศ.สพ.ญ.ดร. สุภาเพ็ญ ศรีพิบูลย์

สัตวแพทย์, นักวิจัยอาวุโส

ผศ.สพ.ญ.ดร. สุภาเพ็ญ ศรีพิบูลย์

"ฉันมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ PANDASIA ในฐานะสัตวแพทย์และนักวิจัยที่มีความสนใจอย่างลึกซึ้งในการอนุรักษ์สัตว์ป่า ความเชี่ยวชาญของฉันมุ่งเน้นไปที่การประยุกต์ใช้เทคนิคการวินิจฉัยระดับโมเลกุลซึ่งเชื่อมโยงอย่างซับซ้อนกับการศึกษาพลวัตของโรคและวิถีการแพร่กระจาย ฉันตั้งตารอที่จะมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในภารกิจของโครงการและร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญเพื่อแก้ไขปัญหาสำคัญระดับโลกเหล่านี้"

ผศ.ดร. อิงอร ไชยเยส

นักระบาดวิทยาด้านสัตว์ป่า

ผศ.ดร. อิงอร ไชยเยส

"งานวิจัยของฉันมุ่งเน้นในด้านความหลากหลายของสัตว์ป่า ภูมิศาสตร์ชีวภาพ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและสัตว์ป่า การผสมผสานของการออกแบบโมเดลทางนิเวศวิทยา การเฝ้าระวังทางไกล ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ และการลงพื้นที่ภาคสนาม"

ผศ.สพ.ญ.ดร. สุภาเพ็ญ ศรีพิบูลย์

สัตวแพทย์, นักวิจัยอาวุโส

ผศ.สพ.ญ.ดร. สุภาเพ็ญ ศรีพิบูลย์

"ฉันมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ PANDASIA ในฐานะสัตวแพทย์และนักวิจัยที่มีความสนใจอย่างลึกซึ้งในการอนุรักษ์สัตว์ป่า ความเชี่ยวชาญของฉันมุ่งเน้นไปที่การประยุกต์ใช้เทคนิคการวินิจฉัยระดับโมเลกุลซึ่งเชื่อมโยงอย่างซับซ้อนกับการศึกษาพลวัตของโรคและวิถีการแพร่กระจาย ฉันตั้งตารอที่จะมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในภารกิจของโครงการและร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญเพื่อแก้ไขปัญหาสำคัญระดับโลกเหล่านี้"

สพ.ญ.ดร. วัลยา ทิพย์กันทา

สัตวแพทย์สัตว์ป่าและสวนสัตว์

สพ.ญ.ดร. วัลยา ทิพย์กันทา

"ในฐานะสัตวแพทย์ด้านสัตววิทยา ฉันยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ PANDASIA เป็นโอกาสอันดีที่จะเรียนรู้และแบ่งปันความเชี่ยวชาญของเรากับทีมงานเพื่อรับความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสุขภาพของสัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการสร้างแผนการที่ดีขึ้นเพื่อรักษาความหลากหลายทางชีวภาพของโลกของเรา"

น.สพ. ไพศิลป์ เล็กเจริญ

นักระบาดวิทยาด้านสัตว์ป่า

น.สพ. ไพศิลป์ เล็กเจริญ

"ในยุคของมานุษยวิทยา การเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งในกระบวนการทางนิเวศน์ส่งผลเสียต่อความเป็นอยู่ที่ดีของสิ่งมีชีวิตทุกรูปแบบและสิ่งแวดล้อม ในฐานะสมาชิกที่แข็งขันของชุมชนซึ่งเป็นต้นตอของสาเหตุ เราจึงต้องร่วมกันทำความเข้าใจ ขัดขวาง และแก้ไขความท้าทายเหล่านี้ เป็นหน้าที่ของเราที่จะมอบมรดกของโลกให้กับคนรุ่นต่อๆ ไป:

สพ.ญ. วลีมาศ ใจรัก

สัตวแพทย์นักระบาดวิทยาด้านสัตว์ป่า

สพ.ญ. วลีมาศ ใจรัก

"ในโลกที่เปลี่ยนแปลงไป การเฝ้าระวังโรคในสัตว์และมนุษย์มีความสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับกิจกรรมของมนุษย์ที่หล่อหลอมธรรมชาติในยุคมานุษยวิทยา ฉันดีใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ PANDASIA และได้ใช้ความพยายามในการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ตระหนักรู้และปกป้องระบบนิเวศของเรา"

สพ.ญ.ดร. วัลยา ทิพย์กันทา

สัตวแพทย์สัตว์ป่าและสวนสัตว์

สพ.ญ.ดร. วัลยา ทิพย์กันทา

"ในฐานะสัตวแพทย์ด้านสัตววิทยา ฉันยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ PANDASIA เป็นโอกาสอันดีที่จะเรียนรู้และแบ่งปันความเชี่ยวชาญของเรากับทีมงานเพื่อรับความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสุขภาพของสัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการสร้างแผนการที่ดีขึ้นเพื่อรักษาความหลากหลายทางชีวภาพของโลกของเรา"

น.สพ. ไพศิลป์ เล็กเจริญ

นักระบาดวิทยาด้านสัตว์ป่า

น.สพ. ไพศิลป์ เล็กเจริญ

"ในยุคของมานุษยวิทยา การเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งในกระบวนการทางนิเวศน์ส่งผลเสียต่อความเป็นอยู่ที่ดีของสิ่งมีชีวิตทุกรูปแบบและสิ่งแวดล้อม ในฐานะสมาชิกที่แข็งขันของชุมชนซึ่งเป็นต้นตอของสาเหตุ เราจึงต้องร่วมกันทำความเข้าใจ ขัดขวาง และแก้ไขความท้าทายเหล่านี้ เป็นหน้าที่ของเราที่จะมอบมรดกของโลกให้กับคนรุ่นต่อๆ ไป"

สพ.ญ. วลีมาศ ใจรัก

สัตวแพทย์นักระบาดวิทยาด้านสัตว์ป่า

สพ.ญ. วลีมาศ ใจรัก

"ในโลกที่เปลี่ยนแปลงไป การเฝ้าระวังโรคในสัตว์และมนุษย์มีความสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับกิจกรรมของมนุษย์ที่หล่อหลอมธรรมชาติในยุคมานุษยวิทยา ฉันดีใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ PANDASIA และได้ใช้ความพยายามในการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ตระหนักรู้และปกป้องระบบนิเวศของเรา"

ดร. กนกวรรณ สุวรรณรงค์

นักวิจัยอาวุโส, ผู้นำชุดงาน 6

ดร. กนกวรรณ สุวรรณรงค์

"การวิจัยเป็นทั้งเครื่องมือและโอกาสในการรวบรวมข้อมูลสำคัญที่จะช่วยปรับปรุงมาตรการป้องกันโรคระบาดให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ SUPA71 มีประสบการณ์มากมายหลายปีในการเก็บข้อมูลจากชุมชนที่มีความเสี่ยง การจัดทำและเผยแพร่เอกสารรายงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเล่าถึงแนวความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้คน รายงานซึ่งประกอบไปด้วยข้อเสนอเชิงกลยุทธ์เหล่านี้ เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับหน่วยงานรัฐบาลท้องถิ่นในการกำหนดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและสัตว์ ในฐานะผู้บริหารของ SUPA71 ฉันขอนำเสนอทีมงานมากความสามารถของเราให้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการวิจัยทางสังคมและกิจกรรมการสื่อสารของ PANDASIA และฉันหวังว่าเราจะมีส่วนสำคัญในการช่วยให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ"

ดร. กนกวรรณ สุวรรณรงค์

นักวิจัยอาวุโส, ผู้นำชุดงาน 6

ดร. กนกวรรณ สุวรรณรงค์

“การวิจัยเป็นทั้งเครื่องมือและโอกาสในการรวบรวมข้อมูลสำคัญที่จะช่วยปรับปรุงมาตรการป้องกันโรคระบาดให้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ SUPA71 มีประสบการณ์มากมายหลายปีในการเก็บข้อมูลจากชุมชนที่มีความเสี่ยง การจัดทำและเผยแพร่เอกสารรายงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเล่าถึงแนวความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้คน รายงานซึ่งประกอบไปด้วยข้อเสนอเชิงกลยุทธ์เหล่านี้ เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับหน่วยงานรัฐบาลท้องถิ่นในการกำหนดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและสัตว์ ในฐานะผู้บริหารของ SUPA71 ฉันขอนำเสนอทีมงานมากความสามารถของเราให้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการวิจัยทางสังคมและกิจกรรมการสื่อสารของ PANDASIA และฉันหวังว่าเราจะมีส่วนสำคัญในการช่วยให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ”

กฤตย์ อุดมทรัพย์พงศ์

สมาชิกชุดงาน 6

กฤตย์ อุดมทรัพย์พงศ์

ดร. Cecile Lantican

ผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสังคม

ดร. Cecile Lantican

"ดิฉันเชื่อเป็นอย่างยิ่งว่าโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำในอนาคต จำเป็นจะต้องได้รับการจัดการโดยการช่วยเหลือชุมชนที่มีความเสี่ยงให้ปรับเปลี่ยนไปสู่พฤติกรรมที่ต้องการ ผ่านกลยุทธ์การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพและทำได้จริง งานวิจัยมากมายแสดงให้เห็นว่าการสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถนำไปใช้ในสถานพยาบาลและสาธารณสุข เพื่อป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อได้ ดังนั้น การระบาดของโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำในอนาคต จำเป็นจะต้องได้รับการจัดการด้วยการสร้างภูมิคุ้มกันทางพฤติกรรม ทั้งนี้ การให้การศึกษาด้านสุขภาพจะวิวัฒนาการไปสู่การเปลี่ยนแปลงไปยังพฤติกรรมที่ต้องการ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยและภายในวัฒนธรรมและบริบทของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด PANDASIA สำรวจหลักฐานและฐานความรู้เพื่อให้การศึกษาและโน้มน้าวผู้กำหนดนโยบาย รวมถึงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่วนบุคคลในเชิงบวก เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการระบาดใหญ่ของโรคติดต่อในอนาคต ด้วยประสบการณ์และความสามารถด้านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและสังคมของฉัน…"

ถนอมศิลป์ พลลาภ

นักสังคมศาสตร์อาวุโส

ถนอมศิลป์ พลลาภ

"ผมรู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้เป็นสมาชิกในทีมของ PANDASIA เพื่อทำการศึกษาด้วยวิธีการแบบสหวิทยาการในประเทศไทย มุมมองจากหลากหลายภาคส่วนเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการทำความเข้าใจแบบองค์รวมของการแพร่ระบาดใหม่และการแพร่เชื้อล้นข้ามจากสัตว์สู่คนในพื้นที่ศึกษา ยิ่งไปกว่านั้น มันจะทำให้ผลลัพธ์หรือบทเรียนที่ได้รับสามารถนำไปใช้ในประเทศอื่นๆต่อไปได้"

กฤตย์ อุดมทรัพย์พงศ์

สมาชิกชุดงาน 6

กฤตย์ อุดมทรัพย์พงศ์

ดร. Cecile Lantican

ผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสังคม

ดร. Cecile Lantican

“ดิฉันเชื่อเป็นอย่างยิ่งว่าโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำในอนาคต จำเป็นจะต้องได้รับการจัดการโดยการช่วยเหลือชุมชนที่มีความเสี่ยงให้ปรับเปลี่ยนไปสู่พฤติกรรมที่ต้องการ ผ่านกลยุทธ์การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพและทำได้จริง งานวิจัยมากมายแสดงให้เห็นว่าการสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถนำไปใช้ในสถานพยาบาลและสาธารณสุข เพื่อป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อได้ ดังนั้น การระบาดของโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำในอนาคต จำเป็นจะต้องได้รับการจัดการด้วยการสร้างภูมิคุ้มกันทางพฤติกรรม ทั้งนี้ การให้การศึกษาด้านสุขภาพจะวิวัฒนาการไปสู่การเปลี่ยนแปลงไปยังพฤติกรรมที่ต้องการ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยและภายในวัฒนธรรมและบริบทของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด PANDASIA สำรวจหลักฐานและฐานความรู้เพื่อให้การศึกษาและโน้มน้าวผู้กำหนดนโยบาย รวมถึงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่วนบุคคลในเชิงบวก เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการระบาดใหญ่ของโรคติดต่อในอนาคต ด้วยประสบการณ์และความสามารถด้านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและสังคมของฉัน…”

ถนอมศิลป์ พลลาภ

นักสังคมศาสตร์อาวุโส

ถนอมศิลป์ พลลาภ

“ผมรู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้เป็นสมาชิกในทีมของ PANDASIA เพื่อทำการศึกษาด้วยวิธีการแบบสหวิทยาการในประเทศไทย มุมมองจากหลากหลายภาคส่วนเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการทำความเข้าใจแบบองค์รวมของการแพร่ระบาดใหม่และการแพร่เชื้อล้นข้ามจากสัตว์สู่คนในพื้นที่ศึกษา ยิ่งไปกว่านั้น มันจะทำให้ผลลัพธ์หรือบทเรียนที่ได้รับสามารถนำไปใช้ในประเทศอื่นๆต่อไปได้”

กรรณการ์ ธรรมสุทธิ

นักสังคมศาสตร์

กรรณการ์ ธรรมสุทธิ

"โครงการ PANDASIA เป็นหนึ่งในโครงการที่สำคัญที่สุด เพราะมันจะช่วยระบุความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นของการแพร่ระบาดใหญ่และการแพร่เชื้อล้นข้ามจากสัตว์สู่คนครั้งใหม่ ตลอดจนช่วยพัฒนามาตรการป้องกันต่างๆสำหรับสังคม มนุษย์ และสัตว์ ให้ดีขึ้นในอนาคต ดิฉันมีความยินดีเป็นอย่างมากที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของทีม PANDASIA และฉันก็จะทุ่มเททำงานอย่างหนักและทำให้ดีที่สุดกับโครงการนี้"

บากุส ปราดานา

เจ้าหน้าที่สื่อสารและสื่อสังคมออนไลน์

บากุส ปราดานา

"ด้วยพื้นฐานทางสังคมศาสตร์ ประกอบกับประสบการณ์ด้านสื่อสังคมออนไลน์ การสื่อสาร และสื่อสารมวลชน ผมมุ่งมั่นที่จะนำความเชี่ยวชาญเหล่านี้มาปรับใช้เพื่อสื่อสารในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคระบาดในอนาคต ผมรู้สึกยินดีอย่างยิ่งที่ได้เข้าร่วมทีม PANDASIA"

อาลียาห์ เอวานเจลิสต้า

เจ้าหน้าที่สื่อสารข้อมูล

อาลียาห์ เอวานเจลิสต้า

"ยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนความคิด ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลานี้ เราจำเป็นต้องเตรียมพร้อมรับมือกับสิ่งที่รออยู่ข้างหน้า และนั่นรวมถึงการเตรียมพร้อมรับมือกับโรคระบาดในอนาคตด้วย การเขียน เรียบเรียง และเผยแพร่ข้อมูลความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับความเสี่ยงของการแพร่กระจายเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คนภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของแนวทางสหวิทยาการในการจัดการโรค ฉันหวังว่าโครงการนี้จะช่วยส่งสารอย่างชัดเจนไปยังกลุ่มชุมชนสาขาวิทยาศาสตร์และบุคคลทั่วไป เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันในการเตรียมความพร้อมรับมือโรคระบาด ผ่านกลยุทธ์การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ"

กรรณการ์ ธรรมสุทธิ

นักสังคมศาสตร์

กรรณการ์ ธรรมสุทธิ

“โครงการ PANDASIA เป็นหนึ่งในโครงการที่สำคัญที่สุด เพราะมันจะช่วยระบุความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นของการแพร่ระบาดใหญ่และการแพร่เชื้อล้นข้ามจากสัตว์สู่คนครั้งใหม่ ตลอดจนช่วยพัฒนามาตรการป้องกันต่างๆสำหรับสังคม มนุษย์ และสัตว์ ให้ดีขึ้นในอนาคต ดิฉันมีความยินดีเป็นอย่างมากที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของทีม PANDASIA และฉันก็จะทุ่มเททำงานอย่างหนักและทำให้ดีที่สุดกับโครงการนี้”

บากุส ปราดานา

เจ้าหน้าที่สื่อสารและสื่อสังคมออนไลน์

บากุส ปราดานา

"ด้วยพื้นฐานทางสังคมศาสตร์ ประกอบกับประสบการณ์ด้านสื่อสังคมออนไลน์ การสื่อสาร และสื่อสารมวลชน ผมมุ่งมั่นที่จะนำความเชี่ยวชาญเหล่านี้มาปรับใช้เพื่อสื่อสารในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคระบาดในอนาคต ผมรู้สึกยินดีอย่างยิ่งที่ได้เข้าร่วมทีม PANDASIA"

อาลียาห์ เอวานเจลิสต้า

เจ้าหน้าที่สื่อสารข้อมูล

อาลียาห์ เอวานเจลิสต้า

"ยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนความคิด ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลานี้ เราจำเป็นต้องเตรียมพร้อมรับมือกับสิ่งที่รออยู่ข้างหน้า และนั่นรวมถึงการเตรียมพร้อมรับมือกับโรคระบาดในอนาคตด้วย การเขียน เรียบเรียง และเผยแพร่ข้อมูลความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับความเสี่ยงของการแพร่กระจายเชื้อไวรัสจากสัตว์สู่คนภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของแนวทางสหวิทยาการในการจัดการโรค ฉันหวังว่าโครงการนี้จะช่วยส่งสารอย่างชัดเจนไปยังกลุ่มชุมชนสาขาวิทยาศาสตร์และบุคคลทั่วไป เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันในการเตรียมความพร้อมรับมือโรคระบาด ผ่านกลยุทธ์การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ"

ศ. ดร. Tiago Oliveira

ศาสตราจารย์ประจำ NOVA IMS การศึกษาด้านพฤติกรรมศาสตร์

ศ. ดร. Tiago Oliveira

"ผมรู้สึกตื่นเต้นอย่างยิ่งที่ได้มีส่วนร่วมในโครงการ PANDASIA โดยเราจะนำความเชี่ยวชาญของเรามาประยุกต์ใช้เพื่อระบุและหาปัจจัยตัวกำหนดสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในพฤติกรรมการป้องกันโรค"

Prof. Dr. Tiago Oliveira

Full Professor at NOVA IMS, Behavioural studies

Prof. Dr. Tiago Oliveira

"ผมรู้สึกตื่นเต้นอย่างยิ่งที่ได้มีส่วนร่วมในโครงการ PANDASIA โดยเราจะนำความเชี่ยวชาญของเรามาประยุกต์ใช้เพื่อระบุและหาปัจจัยตัวกำหนดสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในพฤติกรรมการป้องกันโรค"

ศ. ดร. Ricardo Martins

ศาสตราจารย์และนักวิจัยประจำ NOVA IMS การศึกษาด้านพฤติกรรมศาสตร์

ศ. ดร. Ricardo Martins

"รู้สึกเป็นเกียรติที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ PANDASIA และจะนำความเชี่ยวชาญของเรามาประยุกต์ใช้เพื่อศึกษาพฤติกรรมของประชาชนและการมีส่วนร่วมในมาตรการป้องกันโรค"

ผศ. ดร. Mijail Naranjo

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำ NOVA IMS การศึกษาด้านพฤติกรรมศาสตร์

ผศ. ดร. Mijail Naranjo

"ผมรู้สึกตื่นเต้นที่ได้เข้าร่วมโครงการ PANDASIA และนำความเชี่ยวชาญของผมมาสู่ภารกิจของทีม โดยการทำความเข้าใจถึงความซับซ้อนของปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และระหว่างมนุษย์กับสัตว์ รวมถึงการใช้ประโยชน์จากข้อมูล เราสามารถพัฒนากลยุทธ์ที่เป็นนวัตกรรมใหม่เพื่อทำนายและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคจากสัตว์สู่คน การทำงานร่วมกันของเราจะสร้างโลกที่ปลอดภัยและพร้อมรับมือมากขึ้นสำหรับคนรุ่นต่อไป"

ดร. Diego Costa Pinto

รองคณบดีฝ่ายวิจัยประจำ NOVA IMS การศึกษาด้านพฤติกรรมศาสตร์

ดร. Diego Costa Pinto

"PANDASIA เป็นโอกาสที่ดีในการสร้างความเข้าใจเชิงพฤติกรรมและการเสริมสร้างศักยภาพของชุมชน เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ"

ดร. Sara Dias

นักวิจัย

ดร. Sara Dias

ดร. Rafael Wagner

นักวิจัย

ดร. Rafael Wagner

ดร. Inês Veiga

นักวิจัยการศึกษาด้านพฤติกรรมศาสตร์

ดร. Inês Veiga

"ดิฉันกระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมในโครงการ PANDASIA ซึ่งความเชี่ยวชาญร่วมกันของเราจะผลักดันให้เกิดความเข้าใจเชิงพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพและเสริมสร้างศักยภาพของชุมชน โดยการใช้ประโยชน์จากกลยุทธ์ที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล เราจะส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคจากสัตว์สู่คน และส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกัน เพื่อสร้างอนาคตที่ปลอดภัยและมีสุขภาพดีขึ้นสำหรับทุกคน"

Ethical Committees

รศ. ดร. ประตาป สิงหศิวานนท์

คณะกรรมการจริยธรรม

รศ. ดร. ประตาป สิงหศิวานนท์

รศ. ดร. ประตาป สิงหศิวานนท์

คณะกรรมการจริยธรรม

รศ. ดร. ประตาป สิงหศิวานนท์

Project Partners

PANDASIA brings together a collaboration of leading EU and South-East Asian institutions, practitioners, and stakeholders in the fields of social sciences, anthropology, ecology, wildlife, veterinary sciences, virology, mathematical modelling, statistics and evaluation, public health, and economics. PANDAISIA is implemented by a multi-disciplinary consortium partner from the following institutions: